หน้าแรก แท็ก ลงทุนศาสตร์

แท็ก: ลงทุนศาสตร์

อสังหาฯ ศูนย์บาททำได้จริงหรือ

0
หลายคนอาจไม่แปลกใจที่ผมตอบเช่นนี้ หากคิดในเชิงพื้นฐาน ถ้าการลงทุนที่ใช้เงินน้อยแบบนี้สามารถทำกันได้ง่าย

อสังหาฯ กับกองทุนอสังหาฯ ลงทุนอะไรดี

0
การลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์คือการที่นักลงทุนนำเงินมารวมกันเป็นกองทุนขนาดใหญ่เพื่อไปซื้อทรัพย์ และจ้างผู้จัดการกองทุนมาบริหารจัดการ หากได้กำไรหรือขาดทุน นักลงทุนก็รับส่วนนั้นไป

ตลาดจีน: โอกาสและความท้าทาย

0
ปัจจัยอะไรทำให้เจาะตลาดจีนได้สำเร็จคงมีคนพูดกันเยอะแล้ว วันนี้ลงทุนศาสตร์จึงรวบรวม “อุปสรรค” หรือความเสี่ยงในการเจาะตลาดจีนที่ใช้ได้ทั้งนักลงทุนและนักธุรกิจ เราจะหันมาพิจารณาหนามแหลมคมของกุหลาบแดงดอกสวยนี้กันบ้างดีกว่า

มนุษย์เงินเดือน… ลงทุนอย่างไรดี?

0
ผมแบ่งรายได้ออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกเรียกว่า active income คือ รายได้จากการทำงานประจำ งานเสริม หรือธุรกิจ เช่น เงินเดือน ค่าวิชาชีพ ค่านอกเวลา ค่าแรงรายชิ้น รายได้ประเภทนี้ผันแปรตามแรงงานและเวลาที่ใส่ลงไปในงานเป็นหลัก ทำมากได้มาก ทำน้อยได้น้อย อีกประเภทเรียกว่า passive income คือ รายได้จากดอกผลของการลงทุนในรูปของกระแสเงินสด เช่น เงินปันผลจากหุ้นหรือกองทุนรวม ดอกเบี้ยจากเงินฝากธนาคารหรือตราสารหนี้...

หลักการออมหุ้นแบบถัวเฉลี่ย (DCA) สำหรับมือใหม่

0
 การออมหุ้นคือการแก้ปัญหาสำหรับนักลงทุนที่ประเมินมูลค่าหุ้นไม่เชี่ยวชาญ ไม่สามารถบอกได้ว่าราคาไหนถูก ราคาไหนแพง แต่รู้แค่ว่าหุ้นนี้ดี การซื้อหุ้นแบบถัวเฉลี่ยจะช่วยลดความเสี่ยงโดยทำให้นักลงทุนได้ซื้อหุ้นที่ราคากลางๆ

อิสรภาพเราราคาเท่าไหร่กัน

0
อิสรภาพทางการเงินหมายความว่าเรามีรายได้โดยไม่ต้องทำงานมากพอที่จะเลี้ยงชีพของเราไปจนถึงวาระสุดท้าย หากจะเขียนให้เข้าใจชัดเจนมากขึ้นก็ต้องบอกว่า อิสรภาพทางการเงินคือภาวะซึ่งรายได้ต่อเดือนที่ไม่ได้มาจากการทำงาน (passive income) มากกว่าค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในแต่ละเดือน

ปรากฏการณ์ผีเสื้อขยับปีกของดอกเบี้ยนโยบาย

0
ถ้าใครติดตามข่าวสารด้านการเงินการลงทุนอยู่บ้าง น่าจะพอทราบว่านักการเงินหรือนักลงทุนมักตื่นเต้นกับดอกเบี้ยนโยบายเป็นพิเศษ บางทีแค่ขยับเพียง 0.25% ใครต่อใครก็ดูจะออกอาการกันเป็นเรื่องใหญ่เรื่องโต แต่นั่นไม่ใช่เรื่องแปลกเลย เพราะดอกเบี้ยนโยบายเป็นจุดเริ่มต้นเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่อย่างมากต่อการสั่นสะเทือนตลาดการเงิน

เงินฝืดเงินเฟ้อกับภาวะถอยและท้อของเศรษฐกิจ

0
เงินฝืด - เงินเฟ้อ คือเครื่องบ่งชี้ที่ดีถึงสภาวะเศรษฐกิจ พอจั่วหัวแบบนี้ หลายคนอาจขยาดว่าเรื่องราวที่เล่าคงจะยากและน่าปวดหัว แต่ความจริงแล้วความรู้เรื่องเงินฝืดและเงินเฟ้อที่สัมพันธ์กับเศรษฐกิจนั้นง่ายมาก หากพูดในหลักการพื้นฐาน และยังเชื่อมโยงไปสู่เรื่องการเงินการลงทุนที่สำคัญต่อการตัดสินใจได้อีกด้วย

เมื่อผู้นำเปลี่ยน อะไรก็เปลี่ยนตาม

0
การเมืองกับเศรษฐกิจห่างกันแค่เส้นกั้นบางๆ

โอกาสการลงทุนในโลกที่กว้างกว่าเดิม

0
ตลาดทุนไม่มีพรมแดนประเทศมานานแล้ว หากย้อนไปตั้งแต่สมัยตลาดหุ้นไทยถือกำเนิดใหม่ๆ จนถึงช่วงก่อร่างสร้างมหาเศรษฐีอย่างยุคหลังต้มยำกุ้งหรือหลังแฮมเบอร์เกอร์ นักลงทุนไทยส่วนใหญ่ยังเน้นการลงทุนหุ้นในประเทศไทยเท่านั้น เหตุผลหลักก็คงเพราะหุ้นไทยราคาถูกมีให้เลือกเยอะ ไม่จำเป็นต้องขวนขวาย ในบ่อมีปลาให้จับอยู่มากมาย
error: Don\'t copy !!!