แท็ก: ยุพร แสงทักษิณ
รอให้ ‘น้ำท่วมหลังเป็ด’ ก่อนเถอะ
ฉบับที่แล้วได้เขียนถึงสำนวนไทยที่เกี่ยวกับเป็ดคือ “รู้อย่างเป็ด” ไปแล้ว ผู้เขียนคิดว่ายังมีสำนวนที่เกี่ยวกับเป็ดที่น่าสนใจอีก ได้แก่ น้ำท่วมหลังเป็ด เป็ดง่อย เป็ดขันประชันไก่
มีพวก ‘เสือสิงห์กระทิงแรด’ เต็มสภา จริงรึ!
ฉบับนี้จะว่าด้วยสำนวนไทยซึ่งมีที่มาเกี่ยวกับสัตว์ทั้งสัตว์ใหญ่ สัตว์เล็ก สัตว์บก สัตว์น้ำ เช่น เสือสิงห์กระทิงแรด หนูติดจั่น รู้อย่างเป็ด
ใครจะคิดว่า ‘เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว’
ฉบับนี้จะพูดถึงสำนวนไทยที่เกี่ยวกับเบื้องสูง ได้แก่ เดือนดาว ท้องฟ้า ซึ่งยังนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว ปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ ถ่มน้ำลายรดฟ้า
แมวเก้าชีวิต
มีสำนวนไทยที่เกี่ยวกับแมวซึ่งมักจะได้ยินอยู่เสมอๆ แม้ในปัจจุบันเช่น แมวเก้าชีวิต ตีนแมว ฝากปลาย่างไว้กับแมว
ยกมือเป็นฝักถั่ว
ช่วงเวลาใกล้เลือกตั้งผู้แทนราษฎรเพื่อเข้าไปทำหน้าที่ในสภาครั้งใด กระแสการเมืองก็จะคึกคักยิ่ง กิจกรรมทางการเมืองก็ปรากฏอย่างหลากหลาย
เมาแอ๋ ‘หัวราน้ำ’ เชียว
มือไม่พาย เอาตีน(เท้า)ราน้ำ สมัยก่อนมีการใช้ “ตีน” เป็นคำพื้นๆ ไม่ว่าคนหรือสัตว์ แต่ปัจจุบันคนไม่ค่อยกล้าใช้คำนี้เพราะคิดว่าเป็นคำหยาบจึงใช้คำว่า “เท้า” แทน แม้แต่กับสัตว์ เช่น เท้าหมา เท้าควาย เท้าเป็ด ฯลฯ อย่างไร
ถูก ‘ถีบหัวส่ง’ มาสิท่า
การสัญจรทางน้ำก่อให้เกิดการใช้สำนวนไทยหลายสำนวนที่น่าสนใจ มีทั้งที่ใช้กันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบันก็ยังใช้กันอยู่ เช่นสำนวน “ถีบหัวส่ง” “บิดตะกูด” เป็นต้น
‘ไว้เนื้อไว้ตัว’ หน่อยเถอะแม่คุณ
“ไว้เนื้อไว้ตัว” เป็นสำนวนที่ถูกนำมาใช้ในด้านบวก หมายถึงการรักนวลสงวนตัวของผู้หญิงที่ไม่ยอมให้ตนมีมลทินเพราะถูกล่วงเกินจากผู้ชาย
ดีแต่ ‘น้ำลาย’ แหละ
จะเห็นว่าพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงใช้สรรพนามแทนพระองค์ว่า “กู” ในความหมายว่า “ฉัน” ไม่ใช่คำไม่สุภาพตามที่คนในสมัยปัจจุบันเข้าใจ บางกรณีก็ใช้แสดงถึงความสนิทสนมกันระหว่างเพื่อนฝูง
ยังแค้นฝังหุ่นอยู่
คำว่า “แค้น”ในที่นี้ย่อมาจาก “แค้นคอ” คืออาการที่คนหรือสัตว์กินอาหารแล้วติดคอหรือฝืดคอกลืนไม่สะดวก ส่วน “กา” เป็นนกซึ่งมีลำคอเล็ก จะกินเนื้อสัตว์หรือพืชชิ้นใหญ่ๆ ได้ยากและอาจจะติดคอ ถ้าจะให้กลืนได้สะดวก อาหารของมันก็ต้องเป็นชิ้นเล็กๆ