แท็ก: คอลัมน์: คิดอย่างวิทยาศาสตร์
เจลแอลกอฮอล์ ของใช้ติดบ้านยุคโควิด-19
ระหว่างที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เพราะมีความต้องการใช้เจลแอลกอฮอล์เพื่อฆ่าเชื้อโรคเพิ่มขึ้นกะทันหัน จนเกิดการขาดแคลนเอทิลแอลกอฮอล์ขึ้น และมิจฉาชีพก็เริ่มเอาเมทิลแอลกอฮอล์มาบรรจุขวด ติดฉลาก หลอกขายว่าเป็นเอทิลแอลกอฮอล์ ซึ่งอันตรายมาก
รวมข่าวปลอม โรคโควิด -19
มีข้อมูลข่าวลือผิดๆ เกี่ยวกับโรคโควิด-19 แพร่ไปทั่ว ไม่แพ้การระบาดของเชื้อโรคเอง ตั้งแต่เรื่องจุดกำเนิดของเชื้อไวรัส จนถึงความร้ายแรงของโรค แต่ประเด็นข่าวปลอมที่มีการแชร์กันมากอย่างน่าเป็นห่วง คือเรื่องวิธีการป้องกันและรักษาโรค
โควิด-19 โรคร้ายของมวลมนุษยชาติ
จู่ๆ ประเทศไทย และเกือบทุกประเทศทั่วโลก ต้องเจอกับมหันตภัยครั้งใหม่ของมวลมนุษยชาติ คือเชื้อโรคโคโรนาไวรัส (coronavirus) สายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โรคโควิด-19 (COVID-19) ไม่น่าจะมีใครคาดคิดมาก่อน ว่าจะมีโรคระบาดรุนแรงถึงขั้นติดต่อแพร่กระจายอย่างรวดเร็วทั่วโลกในเวลาไม่กี่เดือน
อุปกรณ์ลวงโลก เครื่องกรองอากาศบนหลังคารถเมล์
เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ในระหว่างที่ฝุ่นพิษขนาดจิ๋ว PM2.5 ได้เวียนกลับมาปกคลุมกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามคาด ก็เกิดประเด็น “เครื่องกรองอากาศบนหลังคารถเมล์” คำถามที่ตามมาทันที เจ้าเครื่องนี้ใช้งานได้ดีจริงอย่างที่อ้าง หรือว่าเป็นเครื่องมือลวงโลกอีกตัวหนึ่ง ไม่ต่างอะไรกับเครื่องตรวจระเบิดลวงโลก GT200 เมื่อ 10 ปีก่อน
ข้อเท็จจริงของเกลือดำ เกลือหิมาลายัน เกลือชมพู
สินค้าอย่างหนึ่งที่เป็นกระแสนิยมในหมู่ผู้รักสุขภาพยุคนี้ คือ “หินเกลือหิมาลายัน” คนขายยังอ้างว่า หินเกลือมีแร่ธาตุอยู่กว่า 80 ชนิด ดีต่อสุขภาพแบบครอบจักรวาล กินเข้าไปแล้วจะช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทำงานปกติ ปรับสมดุลของร่างกาย เกลือหิมาลายันนี้เป็นข่าวดีอันน่าตื่นเต้น หรือว่าเป็นแค่สินค้าหลอกขายตัวใหม่อีกตัวหนึ่ง ???
ไมโครพลาสติก ปัญหาใหม่ของคนยุคนี้
“ผลการวิจัยจากประเทศแคนาดาพบว่าถุงชา 1 ถุง สามารถปลดปล่อยไมโครพลาสติกออกมาหลายพันล้านชิ้นในถ้วยชาของคุณ!” ไมโครพลาสติกคืออะไร? มันออกมาจากถุงชาได้อย่างไร และมีอันตรายต่อสุขภาพของเรามากน้อยแค่ไหน ถึงได้เป็นข่าวดังทั่วโลกแบบนี้?
สยองงง… ดื่มปัสสาวะ รักษาโรค
กำลังเป็นที่ฮือฮาอย่างหนัก หลังจากที่โลกโซเชียลฯ ได้แชร์ภาพของชายหนุ่มคนหนึ่งจากจังหวัดราชบุรี แนะนำให้ทุกคนดื่มน้ำปัสสาวะของตนเองเพื่อแก้อาการปวดเมื่อย เท่านั้นยังไม่พอ เขายังเอาปัสสาวะมาหยอดตา หยอดหู ล้างจมูก ผสมน้ำอาบ รวมทั้งล้างแผล รักษาโรคอีกสารพัด ทำเอาหลายคนรู้สึกสยองขวัญไปด้วย
รวมคลิปมั่ว เรื่องอาหารปลอม (ตอนที่ 2)
ทดสอบอาหารว่าปลอมหรือจริง” มีทั้งวิธีที่ค่อนข้างมั่ว หรือบิดเบือน หรือเป็นแค่ข่าวลือเท่านั้น เช่น วิธีทดสอบชีสแปรรูปผสมสารเคมีด้วยการเผาไฟ จะละลายยากกว่าชีสธรรมชาติ (แต่ชีสแปรรูปนั้นไม่ได้มีอันตรายจนต้องทดสอบอย่างที่ว่า) คอลัมน์คิดอย่างวิทยาศาสตร์ฉบับนี้ จะพิจารณาวิธีทดสอบข้ออื่นๆ ที่เหลือต่อไป